ข่าวสารบุหรี่

เคาะ ‘ศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์’ เป็นสถานบริการในระบบบัตรทอง

เคาะ ‘ศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์’ เป็นสถานบริการในระบบบัตรทอง

บอร์ดสปสช.เคาะ "ศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์" เป็นสถานบริการในระบบบัตรทอง พร้อมให้บริการสายด่วนเลิกบุหรี่ 1600 ตั้งเป้า 2.1 หมื่นคนต่อปี...เมื่อวันที่ 16 ต.ค. นพ.จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กล่าวว่า ที่ประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บอร์ด สปสช.) ครั้งที่ 10/2565

สกู๊ปพิเศษ : แพทย์ยกข้อมูล‘WHO-องค์กรสุขภาพทั่วโลก’

สกู๊ปพิเศษ : แพทย์ยกข้อมูล‘WHO-องค์กรสุขภาพทั่วโลก’

สกู๊ปพิเศษ : แพทย์ยกข้อมูล‘WHO-องค์กรสุขภาพทั่วโลก’ยืนยัน เด็กสูบ‘บุหรี่ไฟฟ้า’เสี่ยงติด‘บุหรี่ธรรมดา’เพิ่มขึ้น เป็นคำถามที่มีการถกเถียงกันว่า การหันมาสูบ“บุหรี่ไฟฟ้า”จะช่วยให้เลิก“บุหรี่ธรรมดา”ได้จริงหรือไม่? โดยเมื่อไม่นานมานี้ ฝ่ายสนับสนุนบุหรี่ไฟฟ้าอ้างว่า ไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือได้มากพอว่า บุหรี่ไฟฟ้าเป็นประตูไปสู่การสูบบุหรี่

แฉแผนวิ่งเต้นปลดล็อกบุหรี่ไฟฟ้าซัดรายงาน กมธ.พาณิชย์จุดอ่อนอื้อ!

แฉแผนวิ่งเต้นปลดล็อกบุหรี่ไฟฟ้าซัดรายงาน กมธ.พาณิชย์จุดอ่อนอื้อ!

เครือข่ายแพทย์ ชำแหละรายงานบุหรี่ไฟฟ้า กมธ.พาณิชย์ จุดอ่อนอื้อ ไม่สนผลกระทบสุขภาพ-สังคม แฉแผนวิ่งเต้นนั่ง กมธ.หลายชุด ดันปลดล็อกบุหรี่ไฟฟ้า...
เมื่อวันที่ 13 ต.ค. ผศ.ดร.ทพ.ณัฐวุธ แก้วสุทธา คณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.) ตั้งข้อสังเกต กรณีมีการเผยแพร่ รายงานผลการพิจารณา

เป้าหมายของบุหรี่ไฟฟ้าคือเด็กและเยาวชน

เป้าหมายของบุหรี่ไฟฟ้าคือเด็กและเยาวชน

แพทย์รามาฯ แจงข้อมูลบุหรี่ไฟฟ้า สรุปประเด็นสำคัญได้ดังนี้ เป้าหมายสำคัญของบุหรี่ไฟฟ้า คือ เด็กและเยาวชน ดูได้จากรสชาติของบุหรี่ไฟฟ้าที่มีเกือบ 2 หมื่นชนิด เกือบทั้งหมดเป็นรสชาติสำหรับเด็ก รวมทั้งอัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้าส่วนใหญ่ในทุกประเทศ พบมากที่สุดในเด็กและเยาวชน ไม่ใช่ผู้ใหญ่

แรงงานไทยสิงห์อมควัน 20.5% สูบหนัก 1-10 มวนต่อวัน ส่วนหนึ่งไม่เข้าใจโทษบุหรี่ไฟฟ้า

แรงงานไทยสิงห์อมควัน 20.5% สูบหนัก 1-10 มวนต่อวัน ส่วนหนึ่งไม่เข้าใจโทษบุหรี่ไฟฟ้า

เปิดข้อมูลแรงงานไทยสิงห์อมควัน 20.5% สูบหนัก 1-10 มวนต่อวัน พยายามเลิก แต่ไม่สำเร็จถึง 59% ส่วนใหญ่ไม่ขอรับคำปรึกษา แหล่งซื้อส่วนใหญ่จากร้านสะดวกซื้อ ขณะที่แรงงานสูบบุหรี่ส่วนใหญ่ 70% มีการสูบในที่ทำงานด้วย โดยสูบในพื้นที่บริษัทจัดไว้ให้ 87% และสูบบุหรี่ในที่ห้ามสูบ 13% พบข้อมูลระดับการศึกษาสูงจะสูบบุหรี่น้อยกว่า

ช็อค! วิจัยพบไทยสูญเสียรายได้จากบุหรี่หนีภาษีปีละกว่า 13,000 ล้านบาท

เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ผศ.ดร.ภิฤดี ภวนานันท์ อดีตอาจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจัยโครงการวิจัยการประมาณการการค้าและการบริโภคบุหรี่ผิดกฎหมายในประเทศไทย ปี 2013-2018 สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) คณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยรายงานการวิจัยฉบับนี้ว่า

งานวิจัยพบว่า หากพ่อได้รับควันบุหรี่มือสอง แม้ไม่ได้สูบเอง

งานวิจัยพบว่า หากพ่อได้รับควันบุหรี่มือสอง แม้ไม่ได้สูบเอง

งานวิจัยพบว่า หากพ่อได้รับควันบุหรี่มือสอง แม้ไม่ได้สูบเอง แต่มีโอกาสทำให้เด็ก-ลูกหลาน เป็นหอบหืดได้มากขึ้น ผลการศึกษาที่เผยแพร่ผ่านวารสาร ‘European Respiratory Journal’ ได้แสดงให้เห็นถึงหลักฐานว่า ควันบุหรี่สามารถสร้าง ‘ผลกระทบข้ามรุ่น’ แม้พ่อของเด็กจะไม่ได้สูบบุหรี่โดยตรง แต่หากเด็กได้รับควันบุหรี่จากพ่อของเขา

“บุหรี่ไฟฟ้า” กรณีศึกษาในต่างประเทศ

“บุหรี่ไฟฟ้า” กรณีศึกษาในต่างประเทศ

แนวทางการเก็บภาษีจากอุตสาหกรรมยาสูบ ทั้งในสหราชอาณาจักรและสหรัฐ ใช้หลักการ ผู้ใดก่อความเสียหาย จะต้องเป็นผู้ชดใช้ ไม่ควรปล่อยให้อุตสาหกรรมยาสูบได้กำไรอย่างลอยนวล โดยไม่รับผิดชอบต่อภาระโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่...

เด็กไทยที่เริ่มสูบบุหรี่ไฟฟ้ามีแนวโน้มสูบบุหรี่ธรรมดาเพิ่ม 5 เท่า

เด็กไทยที่เริ่มสูบบุหรี่ไฟฟ้ามีแนวโน้มสูบบุหรี่ธรรมดาเพิ่ม 5 เท่า

เมื่อวันที่ 22 ก.ย. 2565 รศ.พญ.เริงฤดี ปธานวนิช ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ในฐานะหัวหน้าวิจัยโครงการศึกษาการรับรู้และปัจจัยที่สัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กและเยาวชนไทย เปิดเผยว่า งานวิจัยนี้ถือเป็นงานวิจัยชิ้นแรกของไทย ที่พบว่าเด็กไทยที่เริ่มสูบบุหรี่ไฟฟ้ามีแนวโน้มจะไปสูบบุหรี่ธรรมดาเพิ่มขึ้น

X

Main Menu